การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา ED 2071 วรรณกรรมส าหรับเด็กปฐมวัยส าหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยมหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัยวิทยาเขตร้อยเอ็ดโดยใช้เทคนิคการสอนแบบ Active Learning

cover issue 17840 th TH

บทคัดย่อ

     การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา ED 2071วรรณกรรมส าหรับเด็กปฐมวัย โดยใช้เทคนิคการสอนแบบ active learning 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยชั้นปี ที่ 3 ก่อนเรียนและหลังการเรียนรายวิชาED 2071วรรณกรรมส าหรับเด็กปฐมวัย 3) ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยชั้นปี ที่ 3 ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาED 2071วรรณกรรมส าหรับเด็กปฐมวัย เป็นการวิจัยเชิงทดลอง แบบแผนการวิจัย คือแบบทดลองกลุ่มเดียวสอบก่อนและหลัง (The One Group Pretest –Posttest Design) ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจงจ านวน 15 คนเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ 1) มคอ.3 รายวิชา ED 2071วรรณกรรมส าหรับเด็กปฐมวัย 2) รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา ED 2071วรรณกรรมส าหรับเด็กปฐมวัย 3) แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา ED 2071วรรณกรรมส าหรับเด็กปฐมวัย 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการใช้รูปแบบการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยพบว่า1.ผลการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา ED 2071วรรณกรรมส าหรับเด็กปฐมวัย ได้รูปแบบการเรียนรู้ TAPSCAแนวคิดที่เป็นองค์ประกอบของรูปแบบการเรียนรู้คือ 1) แนวคิดจิตตปัญญาศึกษา2) แนวคิดการเรียนรู้แบบเชิงรุก3) แนวคิดการเรียนรู้โดยใช้แผนผังความคิด4) แนวคิดการสะท้อนการเรียนรู้ โดยมีกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 6 ขั้นตอน คือ 1) จุดประกายความสนใจ (Twinkle)2) เห็นคุณค่า (Appreciate) 3) ลงมือปฏิบัติ (Practice) 4) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Share) 5) สรุปความคิด (Conclusion) 6) สะท้อนการเรียนรู้ (After action Reflection) 2. เปรียบเทียบผลหลังการเรียนรายวิชาED 2071วรรณกรรมส าหรับเด็กปฐมวัยนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงขึ้นอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.นักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยชั้นปีที่ 3มีความพึงพอใจต่อรูปแบบการเรียนรู้ในรายวิชา ED 2071วรรณกรรมส าหรับเด็กปฐมวัยหลังการทดลอง มีผลการประเมินโดยรวม ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ มาก (X̅= 4.15) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก (X̅= 4.49)รองลงมา คือ ด้านบรรยากาศในการเรียน ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (X̅= 4.41) ส่วนค่าเฉลี่ยต่ าสุด คือ ด้านสื่อและแหล่งเรียนรู้ ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (X̅= 3.38) ส่วนด้านอื่นๆมีค่าเฉลี่ยที่ใกล้เคียงกันและมีความสัมพันธ์กันตามล าดับ

คำสำคัญ : กิจกรรมการเรียนรู้, วรรณกรรม, เด็กปฐมวัย

Loading

Rate this post